2525

:

ประวัติคณะ

การศึกษาชาติพันธุ์วิทยา ชนกลุ่มน้อยมลาบรี หรือผีตองเหลือง ในโครงการวิจัยชาติพันธุ์ทางโบราณคดี โดย ศาสตราจารย์ ดร. สุรินทร์ ภู่ขจร จากภาควิชาโบราณคดี คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร (2525-2528) ซึ่งนำมาใช้เป็นข้อมูลตีความหลักฐานโบราณคดีที่ขุดพบจากวัฒนธรรมยุคหินกลางหรือโหบินเนียนที่กาญจนบุรี นับเป็นผู้บุกเบิกการศึกษาแบบ “ชาติพันธุ์โบราณคดี” และ “สหวิทยาการ” สำหรับงานโบราณคดี ซึ่งประกอบด้วยผู้เชี่ยวชาญจากหลายสาขาวิชา เป็นท่านแรก

การศึกษาเรื่องชนกลุ่มน้อยผีตองเหลือง (มลาบรี) ของ ศ. สุรินทร์ ภู่ขจร
ที่มา : สุรินทร์ ภู่ขจร. และคนอื่น รายงานเบื้องต้นกลุ่มสังคมล่าสัตว์ : ชนกลุ่มน้อยเผ่า “ผีตองเหลือง” ในประเทศไทย. กรุงเทพฯ : คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2526.
การศึกษาเรื่องชนกลุ่มน้อยผีตองเหลือง (มลาบรี) ของ ศ. สุรินทร์ ภู่ขจร
ที่มา : สุรินทร์ ภู่ขจร. และคนอื่น รายงานเบื้องต้นกลุ่มสังคมล่าสัตว์ : ชนกลุ่มน้อยเผ่า “ผีตองเหลือง” ในประเทศไทย. กรุงเทพฯ : คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2526.
การศึกษาเรื่องชนกลุ่มน้อยผีตองเหลือง (มลาบรี) ของ ศ. สุรินทร์ ภู่ขจร
ที่มา : สุรินทร์ ภู่ขจร. และคนอื่น รายงานเบื้องต้นกลุ่มสังคมล่าสัตว์ : ชนกลุ่มน้อยเผ่า “ผีตองเหลือง” ในประเทศไทย. กรุงเทพฯ : คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2526.